กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์
Web Development Processes
Phase 1: สำรวจปัจจัยสำคัญ(Research)
- รู้จักตัวเอง กำหนดเป้าหมายและสำรวจความพร้อม
Phase 2: พัฒนาเนื้อหา(Site Content)
- สร้างกลยุทธ์การออกแบบบ
- หาข้อสรุปขอบเขตของเนื้อหา
Phase 3: พัฒนาโครงสร้างเว็บไซต์(Site Structure)
- จัดทำระบบข้อมูล
- จัดทำโครงสร้างข้อมูล
- พัฒนาระบบเนวิเกชัน
Phase 4:ออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์(Visual Design)
- ออกแบบลักษณะหน้าตาเว็บไซต์
- พัฒนาเว็บต้นแบบและข้อกำหนดสุดท้าย
Phase 5: พัฒนาและดำเนินการ(Production & Operation)
- ลงมือพัฒนาเว็บไซต์
- เปิดตัวเว็บไซต์
- ดูแลและพัฒนาต่อเนื่อง
การจัดลำดับความสำคัญของข้อมูล
การจัดลำดับความสำคัญของข้อมูล ได้แก่ การกำหนดตำแหน่งของข้อมูลและเทคนิคที่ใช้นำเสนอ ผู้ออกแบบควรจัดกลุ่มข้อมูลที่ความสัมพันธ์กันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน โดยการจัดกลุ่มทำได้หลายลักษณะ
1.สร้างการเชื่อมโยงแบบรายการย่อย
2.จำกัดขอบเขตที่สัมพันธ์กันเอาไว้
3.จัดลำดับความสำคัญของข้อมูลแบบซ้อนกัน
การจัดระบบข้อมูล ประกอบด้วย
1.แบบแผนระบบข้อมูล(Organization Schemes)
2.โครงสร้างระบบข้อมูล(Organization Structure)
ระบบแบบแผนข้อมูล ประกอบด้วย
1.แบบแผนระบบข้อมูลแบบแน่นอน ได้แก่ ระบบข้อมูลตามตัวอักษร ระบบข้อมูลตามลำดับเวลาหรือตามพื้นที่
2. แบบแผนระบบข้อมูลแบบไม่แน่นอน เป็นการรวบรวมข้อมูลที่คล้ายหรือใกล้เคียงกัน ดังนั้น การค้นหาข้อมูลประเภทนี้ผู้ใช้สามารถเรียนรู้รายละเอียดของสิ่งที่ค้นหาเพิ่มขึ้นตามจำนวนครั้งที่เราค้นหา
3.แบบแผนข้อมูลผสม
โครงสร้างข้อมูลในเว็บไซต์ แบ่งเป็น 3 รูปแบบ ช่วยสร้างความเข้าใจ อธิบายและควบคุมการรับรู้ของผู้คน ทำให้ผู้ใช้เข้ามาค้นหาข้อมูลได้อย่างสะดวกและตรงตามความต้องการ
1.โครงสร้างแบบลำดับชั้น เหมาะกับข้อมูลบนเว็บเพราะทุกเว็บจะเริ่มจากหน้าโฮมเพจก่อนเสมอ ความกว้างของโครงสร้างระบบข้อมูลควรมี 7 บวก ลบ 2 รายการ ส่วนความลึกไม่ควรเกิน 4-5 ชั้น
2.โครงสร้างแบบไฮเปอร์เท็กซ์ มีลักษณะคล้ายเครือข่ายโยงใย จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ รายการหรือกลุ่มข้อมูลที่ถูกลิ้งค์ กับลิ้งค์ที่เชื่อมโยงข้อมูลเหล่านั้น
3.โครงสร้างแบบฐานข้อมูล มักใช้กับเว็บที่มีขนาดใหญ่ เพิ่มความสามารถในการค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง ช่วยสร้างความเข้าใจ อธิบายและควบคุมการรับรู้ข้อมูลของผู้คน ทำให้ผู้ใช้เข้ามาค้นหาข้อมูลได้อย่างสะดวกและตรงตามความต้องการ
ออกแบบกราฟิคสำหรับเว็บไซต์
Designing Web Graphics
รูปแบบกราฟิคสำหรับเว็บ(GIF,JPG,PNG)
GIF ย่อมาจาก GraphiclnterchangeFomat
- ได้รับความนิยมในยุคแรก
- มีระบบเสียงแบบ Index วึ่งมีข้อมูลสีขนาด 8 บิต ทำให้มีสีมากกว่า 256 สี
- มีการบีบอัดข้อมูลตามแนวนอนของพิกเซลเหมาะสำหรับกราฟิคที่ประกอบด้วยสีพื้น
JPG ย่อมาจาก Joint Photographic Expert Group
- มีข้อมูลสีขนาด 24 บิต สามารถแสดงสีได้ถึง 16.7 ล้านสี
- ใช้ระบบการบีบอัดที่มีลักษณะที่สูญเสีย
- ไฟล์ประเภทนี้ควรนำไปใช้กับรูปถ่ายหรือกราฟฟิกที่มีการไล่ระดับสีอย่างละเอียด
PNG ย่อมาจาก Portable
Network Graphic
- สามารถสนับสนุนระบบสีได้ทั้ง 8บิต 16บิตและ 24 บิต
- มีระบบบีบอัดแบบ Deflate ที่ไม่ทำให้เกิดการสูญเสีย
- มีระบบการควบคุมแกรม่าและความโปร่งใสในตัวเอง
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น